อัธยาศัยของมนุษย์ (๑)
บัณฑิตพึงทราบ จริตทั้งหลาย โดยอิริยาบถ โดยกิจ โดยการบริโภค โดยอาการ มีการดู เป็นต้น และโดยความเป็นไป แห่งธรรมนั่นแล
ออกแบบชีวิตด้วยตนเอง (๑)
นักปราชญ์ทั้งหลายกล่าวว่า ทานและการรบมีผลเสมอกัน พวกวีรบุรุษแม้มีน้อย ย่อมชนะคนขลาดที่มีพรรคพวกมากได้ ถ้าบุคคลเชื่อกรรมและผลของกรรมอยู่ ย่อมให้สิ่งของแม้น้อยได้ เพราะฉะนั้นแล ทายกนั้นย่อมเป็นผู้มีความสุขในโลกหน้า
การดำรงอยู่ได้นานแห่งพระสัทธรรม (๑)
ความเสื่อมของมนตราอยู่ที่การไม่ทบทวน ความเสื่อมของเรือนอยู่ที่การไม่ซ่อมแซม ความเสื่อมของใจอยู่ที่การไม่ฝึกฝน เมื่อใจของเราเสื่อม ความคิด
ศาสดาเอกของโลก (๑)
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงเป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน ผู้บริสุทธิ์หลุดพ้นแล้วจากกิเลสอาสวะ กิจที่จะทำยิ่งกว่านี้ของพระองค์ไม่มีอีกแล้ว พวกเราควรดำเนิน
วิเคราะห์การให้ทานของพระเวสสันดร (๑)
ปัจจุบันมนุษย์ต้องประสบกับปัญหารอบด้าน ไม่ว่าจะเป็นปัญหาครอบครัว เพื่อนร่วมงาน ค่าครองชีพที่สูงขึ้น มลพิษของสิ่งแวดล้อม ซึ่งล้วนเป็นปัญหา
บุพกรรมของพระพุทธเจ้าตอนที่ ๑
บุคคลที่ทำกรรมชั่วไว้ ถึงจะหนีไปทางอากาศ ก็พ้นจากกรรมชั่วไปไม่ได้ หนีไปในท่ามกลางมหาสมุทร ก็พ้นจากกรรมชั่วไปไม่ได้ หนีเข้าไปในซอกเขาก็ไม่พ้นจากกรรมชั่วไปได้ บุคคลอยู่ในส่วนแห่งภาคพื้นใดพึงพ้นจากบาปกรรม ส่วนแห่งภาคพื้นนั้น ย่อมไม่มี
ความหลากหลายของเปรต (๑)
การร้องไห้ก็ดี ความเศร้าโศกก็ดี การพิไรร่ำไรก็ดี บุคคลไม่ควรทำเลย เพราะการร้องไห้เป็นต้นนั้น ไม่เป็นไปเพื่อประโยชน์แก่ผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว ญาติทั้งหลายก็คงดำรงอยู่อย่างนั้น ทักษิณาทานที่ให้แล้ว ตั้งไว้ดีแล้วในสงฆ์ ย่อมสำเร็จประโยชน์แก่ชนผู้ล่วงลับไปโดยพลันสิ้นกาลนาน
คิดผิดคิดใหม่ได้ (๑)
ดูก่อนเธอผู้เห็นภัยในวัฏสงสารทั้งหลาย สัตว์ที่กลับมาเกิดในหมู่มนุษย์มีน้อย เหมือนฝุ่นในเล็บมือของเรา โดยที่แท้สัตว์ที่พากันไปเกิดเป็นอย่างอื่นนอกจากมนุษย์มีมาก เหมือนฝุ่นในพื้นปฐพีใหญ่
พระมหากัสสปเถระ (๑)
ชนผู้ปรารถนาอายุ วรรณะ ยศ เกียรติ สวรรค์ ความเกิดในตระกูลสูง และความเพลินใจ พึงทำความไม่ประมาทให้มากยิ่งขึ้น บัณฑิตทั้งหลายย่อมสรรเสริญความไม่ประมาทในการทำบุญ บัณฑิตผู้ไม่ประมาทแล้ว ย่อมยึดถือประโยชน์ทั้งสองไว้ได้ คือประโยชน์ในปัจจุบัน และประโยชน์ในสัมปรายภพ
พระปิลินทวัจฉะ (๑)
สัตว์ทั้งปวงซึ่งเป็นมิตรและมิใช่มิตร ย่อมไม่เบียดเบียนเรา เราเป็นที่รักของสัตว์ทุกจำพวก นี้เป็นผลแห่งบุญกรรม